พลังพลเมืองตื่นรู้

สช.ผนึกโตโยต้า ไทยแคร์ ช่วยผู้ป่วยโควิดถึงบ้าน

ช่วยผู้ป่วยโควิดถึงบ้าน

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) บริษัท โตโยต้านครปฐม เครือข่ายไทยแคร์ และภาคีเครือข่ายผนึกกำลังเสริมทัพสนับสนุน โครงการ “พลเมืองตื่นรู้ สู้ภัยโควิด 19” ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบวิกฤตโควิด-19 ในการขนย้ายผู้ป่วย โดยเฉพาะประชากรที่ตกหล่น คนชายขอบ กลุ่มเปราะบาง กลุ่มที่ตกค้างอยู่ตามบ้านที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการได้

เวทีสาธารณะ พลังพลเมืองตื่นรู้ ช่วยชาติสู้ภัยโควิด-19

เวทีสาธารณะ พลังพลเมืองตื่นรู้ ช่วยชาติสู้ภัยโควิด-19

วันจันทร์ ที่ 9 สิงหาคม 2564 เวลา 13.00-16.30 น. พบกับ

เวทีสาธารณะ พลังพลเมืองตื่นรู้ ช่วยชาติสู้ภัยโควิด-19 

การมีสวนร่วมของนิสิต และบุคลากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต่อการ "ผนึกกำลังกันเพื่อเฝ้าระวัง และช่วยเหลือผู้ติดเชื้อโควิด-19"

ผนึกกำลังกันเพื่อเฝ้าระวัง และช่วยเหลือผู้ติดเชื้อโควิด-19

ในนวันที่ 5 สิงหาคม 2564 ระหว่างเวลา 08.00-14.30 น. 

ใช้ชุมชนเป็นฐาน - จัดวาง CI ขนาดเล็กทั่วประเทศ สช.สานพลัง ‘สมัชชาสุขภาพจังหวัด’ สู้โควิด-19

สช.สานพลัง สมัชชาสุขภาพจังหวัด สู้โควิด-19

วิกฤตการณ์โควิด-19 ระลอกล่าสุด ที่เริ่มต้นจากกรุงเทพมหานคร (กทม.) ก่อนจะกระจายตัวออกไปยังทุกจังหวัดทั่วประเทศ กำลังก่อให้เกิดปัญหาขนาดใหญ่เกินกว่าที่ส่วนกลางจะใช้อำนาจบริหารจัดการได้อย่างเบ็ดเสร็จ

ศูนย์พักคอย ชุมชนเอื้ออาทรแสมดำ เขตบางขุนเทียน ที่พักพิงผู้ป่วยโควิด19 แห่งใหม่ เน้นการตรวจเชิงรุก หาผู้ติดเชื้อให้ไว ดูแลให้ทัน ป้องกันควบคุมโรคให้ดี”

ศูนย์พักคอยชุมชนบ้านเอื้ออาทรแสมดำ

ชุมชนแสมดำได้ร่วมกันจัดตั้ง “ศูนย์พักคอยชุมชนบ้านเอื้ออาทรแสมดำ” โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาคภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยมีผู้นำชุมชนเอื้ออาทรแสมดำ ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) มูลนิธิสถาบันวิจัยและปฏิบัติการสังคม การเคหะแห่งชาติ สำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกันเปิดศูนย์พักพิง พักคอย ชุมชนเอื้ออาทรแสมดำ เขตบางขุนเทียน รับรองผู้ป่วยโควิด 19

ข้อแตกต่างระหว่าง State quarantine และ Alternative state quarantine

สธ.อธิบายข้อแตกต่างสถานกักตัวของรัฐ และสถานกักตัวทางเลือก เพื่อเฝ้าระวังโรคผู้เดินทางกลับจากต่างประเทศ 14 วัน   พร้อมเช็กรายชื่อมีสถานที่ใดบ้างผ่านเว็บไซต์

การควบคุมการระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือโควิด-19 แนวทางหนึ่งคือ การคัดกรองโรคจากผู้ที่เดินทางเขามาในประเทศ ซึ่งหากเดินทางเข้ามาในประเทศไทย แม้จะไม่พบเชื้อแต่ต้องเข้าสู่กระบวนการเฝ้าระวังยังสถานที่กักตัวของรัฐ หรือ State quarantine เป็นเวลา 14 วัน ซึ่งระหว่างนั้นก็จะมีการตรวจเชื้อ หากพบก็จะนำเข้าสู่กระบวนการรักษาต่อไป

โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า คืออะไร

นอกจากคำเรียกชื่อสายพันธ์ุของเชื้อโควิด-19 ที่เราเคยเห็นเรียกกันตามชื่อประเทศที่พบสายพันธุ์นั้นๆ ครั้งแรกแล้ว เรายังมีการเรียกชื่อสายพันธุ์ว่าอัลฟ่า เบต้า แกมมา และเดลต้า อีกด้วย

โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า คืออะไร
องค์การอนามัยโลก (WHO) เปลี่ยนชื่อในการเรียกสายพันธุ์โควิด-19 จากชื่อประเทศที่พบเชื้อโควิดครั้งแรก เป็นระบบตัวอักษรภาษากรีก เช่น อัลฟ่า เบต้า แกมมา และเดลต้า เพื่อลดการตีตราประเทศนั้นๆ

สช. จัดทำคู่มือ ‘แนวปฏิบัติชุมชน’ สู้ภัยโควิด-19 ‘ต้นแบบ’ รับมือวิกฤตชุมชนแออัดทั่วประเทศ

การจัดระบบดูแลสุขภาพในชุมชน สถานการณ์โควิด19

สช.จับมือภาคีเครือข่าย ถอดบทเรียนการจัดระบบควบคุม-ป้องกันโรค “ชุมชนคลองเตย-บ้านมั่นคงวังทองหลาง” สรุปเป็น “คู่มือแนวปฏิบัติชุมชนสู้ภัยโควิด-19” หวังเป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนชุมชนจัดการตนเองตามบริบทของพื้นที่